วันพุธที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2553

การทำแป้งโดว์
อุปกรณ์
1. เกลือ
2. แป้งสาลี
3. สารส้มป่น
4. น้ำ
5. น้ำมันพืช
6. สีผสมอาหาร
7. ทาทาครีม

เกมการศึกษา









วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กรกฎาคม


ครั้งที่ 7 วันที่ 29 กรกฎาคม 2553

-ให้ดูใบงานเกมการศึกษา


-สั่งให้ทำงานเกมการศึกษาลงบล็อก


-คุยเรื่องการเข้าค่าย


เป็นเกมการจับคู่ที่ใช้การสังเกตุรูปภาพว่ามีรูปไหนที่เหมือนกัน

กรกฎาคม

ครั้งที่ 6 วันที่ 22 กรกฎาคม 2553

สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
- ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
- ได้รับประสบการณ์ตรง จำได้นาน
- รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย

ลักษณะสื่อที่ดี
- มีความปลอดภัย
- ประหยัด
- มีประสิทธิภาพ


หลักการเลือกสือ
- คุณภาพดี
- เด็กเข้าใจง่าย
- เลือกให้เหมาะสมกับวัย
- เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
- เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรม
- เด็กได้คิดเป็นทำเป็น กล้าแสดงออก


การประเมินการใช้สื่อ
(พิจารณาจาก ครูผู้ใช้สื่อ เด็กและ สื่อ)

สอนเกมการศึกษา เกมจับคู่

วันพฤหัสบดีที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กรกฎาคม

ครั้งที่ 5 วันที่ 15 กรกฎาคม 2533

นำเสนอสื่อ เรื่อง ปริศนาคำทาย

เหมาะกับเด็กตั้งแต่อายุ 3 ขวบขึ้นไป ใช้ทักษะทางด้านภาษา




วันพฤหัสบดีที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กรกฎาคม

ครั้งที่ 4 วันที่ 8 กรกฎาคม 2533

การแบ่งประเภทของสื่อ
-ตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รับจากสื่อ
-ตามลักษณะของสื่อ
ตามแนวคิดของเอ็ดการ์ เดล ( Edgar dale )
-กรวยประสบการณ์ 11 กลุ่ม ประกอบด้วย

1. ประสบการณ์ตรง >> ได้รับประสบการณ์จากของจริง
2. ประสบการณ์รอง >> เรียนรู้จากสิ่งใกล้เคียงความเป็นจริง
3. ประสบการณ์นาฎการหรือการแสดง >> เป็นการแสดงบทบาทสมมุติเพื่อจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
4. การสาธิต >> การแสดงหรือการกระทำประกอบคำอธิบายเพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนการกระทำนั้น
5. การศึกษานอกสถานที่ >> ได้รับประสบการณ์ต่างๆนอกสถานที่เรียนอาจเป็นการท่องเที่ยว การเยียมชมสถานที่ต่างๆ
6. นิทรรศการ >> การจัดแสดงสิ่งของต่างๆ การจัดป้ายเพื่อให้สาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7. โทรทัศน์ >> เพื่อการเรียนการสอน ใช้ได้ทั้งวงจรเปิดและววงจรปิด เป็นการสอนสดหรือวีดีโอ
8. ภาพยนตร์ >> บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ลงบนฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียงโดยใช้ประสาทตาและหู
9. การบันทึกเสียง >>
เป็นทั้งในรูปของแผ่นเสียงหรือเทปบันทึกเสียง
10. ทัศนสัญลักษณ์ >> แผนที่ แผนสถิติหรือเครื่องหมายต่างๆเป็นสิ่งที่แทนความเป็นจริงของสิ่งต่างๆ
11. วจนสัญลักษณ์ >> ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่ ตัวหนังสือในภาษาเขียนและเสียงของคำพูดในภาษาพูด

วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กรกฎาคม

ครั้งที่ 3 วันที่ 1 กรกฎาคม 2553

สื่อการเรียนการสอน >> อุปกรณ์ที่อาจเป็นวัสดุ เครื่องมือหรือกิจกรรมที่ครูเลือกและวางแผนใช้รวมเข้าไปในเนื้อหาของหลักสูตรวิชาต่างๆเหมาะสมกับความต้องการ ระดับชั้น สติปัญญาและความสามารถของนักเรียนเพื่อให้กระบวนการ การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
คุณค่าของสื่อการเรียนการสอน

>ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้เร็วขึ้น
>ช่วยให้สนใจบทเรียนและใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ได้
>ทำให้เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้นและเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องนั้นได้ถูกต้อง
สือกับผู้เรียน
-ให้ประสบการณ์รูปธรรมแก่ผู้เรียนและเกิดความประทับใจ
-ช่วยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้
-ส่งเสริมความคิดการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์
-ช่วยให้ผู้เรียนได้ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยีนการสอน
ขั้นตอนการใช้สื่อ
-นำเข้าสู่บทเรียน
-ดำเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมนักเรียน
-วิเคราะห์และปฎิบัติ
-สรุปบทเรียน
-ประเมินผู้เรียน

วันศุกร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

กรกฎาคม

ครั้งที่ 2 วันที่ 24 มิถุนายน 2553

นิยามของสื่อ

สื่อ หมายถึง สิ่งใดๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางระหว่างแหล่งกำเนิดของสารกับผู้รับสาร เป็นสิ่งที่นำพาสารจากแหล่งกำเนินไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
เด็กปฐมวัย
คือ เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 0-6 ปี เป็นวัยที่กำลังเรียนรู้
เราควรศึกษาเด็กปฐมวัยอย่างไร คือ จากการถาม พฤติกรรมการเล่นของเด็ก

เด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้อย่างไร คือ การได้ลงมือทำ การเล่นของเล่น



จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) เป็นนักปรัชญาและนักการศึกษาซึ่งมีชื่อเสียงที่สุดของลัทธินี้ ปรัชญาของดิวอี้เป็นปรัชญาที่สะท้อนออกมาเด่นชัดในเรื่องการศึกษาที่ยกย่องประสบการณ์ทั้งปวงที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้สถานการณ์ที่เป็นจริง
ทั้งในแง่ของประวัติศาสตร์และสังคม รวมทั้งความเชื่อที่เป็นระเบียบและโลกที่ไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่
นอกจากนั้นดิวอี้ ยังได้มีโอกาสสร้างโรงเรียนทดลองขึ้น เพื่อเสนอความคิดทางการศึกษาแบบที่มีประสบการณ์เป็นพื้นฐาน ถึงแม้ ปาร์คเกอร์ จะเป็นผู้ริเริ่มปรัชญาพิพัฒนนิยมจะไม่มีชื่อเสียงเทียบเท่าดิวอี้ แต่ดิวอี้ ก็ยกย่องปาร์คเกอร์ว่า เป็นบิดาของทฤษฎีการศึกษาปรัชญาพิพัฒนนิยม

วันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553

27/มิ.ย./2553

ข้าพเจ้าไม่ได้เข้าเรียนเนื่องไปหาหมดที่โีรงพยาบาลนพรัตน์